วันเสาร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สรุปความรู้ที่เรียน วันที่ 25 มิ.ย.2556

สรุปความรู้ที่เรียน วิชา ภาษและเทคโนโลยีสำหรับครู  วันที่ 25 มิ.ย.2556

ภาษาไทยเกิดขึ้นมาจาก ๓ เสียง
๑.เสียงสระ
๒.เสียงพยัญชนะ
๓.เสียงวรรณยุกต์

ระดับของภาษา
พิธีการ - ทางการ - กึ่งทางการ - สนทนา - กันเอง

สระมี ๓๒ รูป ๒๑ เสียง
ะ  า    ิ     ี     ึ     ื   ุ   ู  โ-ะ  โ  เ-ะ   เ  แ-ะ  แ  เ-าะ  ออ  เี-ียะ  เ-ีย  
-ัวะ  -ัว  เ-อะ  เ-อ  เ-ือะ  เ-ือ  -ำ  ไ  ใ  เ-า  ฤ  ฤๅ  ฦ   ฦๅ


เสียงพยัญชนะไทย ( ๒๑ เสียง)
ก    ข    ง    จ    ช   ซ    ด    ต    ท    น    บ    ป    พ    ฟ    ม    ย    ร    ล    ว    อ    ฮ

เสียงพยัญชนะไทย (๔๔ รูป)

ภาษาไทยสะกดตามมาตรา ๘ มาตรา
- แม่กง 
- แม่กบ
- แม่กม
- แม่กน
- แม่กก
- แม่กด
- แม่เกย
- แม่เกอว
มาตราไทยมี ๙ มาตรา มาตรา ก กา  กก กด กบ กง กน กม เกย เกอว

มาตราตัวสะกด มี ๘ มาตรา หรือ ๘ แม่    แม่ กาไม่นับเป็นมาตราตัวสะกด 

ไม่มีตัวสะกด เรียกว่า แม่ ก กา หรือ มาตรา ก กาหลักเกณฑ์ที่วางไว้เพื่อให้กำหนดได้ว่าคำที่มีพยัญชนะตัวใดบ้างเป็นตัวสะกดอยู่ในมาตราใดหรือแม่ใด คือ
ถ้ามีตัว ก ข ค ฆ  สะกด จัดอยู่ในมาตราแม่กก
ถ้ามีตัว สะกดจัดอยู่ในมาตรากงหรือแม่กง
ถ้ามีตัว จ ฉ ช ซ ฌ ฎ ฏ ฐ ฑ ฒ ด ต ถ ท ธ ศ ษ ส สะกด จัดอยู่ในมาตรากดหรือแม่กด
ถ้ามีตัว            สะกดจัดอยู่ในมาตรากนหรือแม่กน
ถ้ามีตัว บ ป พ ฟ ภ สะกด  จัดอยู่ในมาตรากบหรือแม่กบ
ถ้ามีตัว สะกด จัดอยู่ในมาตรากมหรือแม่กม
ถ้ามีตัว สะกด จัดอยู่ในมาตรามาตราเกยหรือแม่เกย
ถ้ามีตัว สะกดจัดอยู่ในแม่เกอว

วันศุกร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2556

สรุปความรู้ที่เรียน วันที่ 18 มิ.ย.2556

สรุปความรู้ที่เรียน วิชา ภาษและเทคโนโลยีสำหรับครู  วันที่ 18 มิ.ย.2556

ไทยมาจากหลายที่ ได้แก่
    -ไทยมาจากเทือกเขาอันไตร
     -ไทยอาหรมณ์คือ ไทยที่อพยพไปอยู่ประเทศจีน
     -ไทยใหญ่คืออยู่ประเทศลาว
จังหวัดลพบุรีซ้อนกัน 3 เมือง
               เมืองแรก อยู่ในสมัยขอม
    เมืองที่สอง อยู่บริเวณวังนารายณ์ สมัย สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เมืองที่สาม อยู่ในสมัย จอมพล.ป พิบูลสงคราม
    วงเวียนเมืองลพบุรีมี   2  วงเวียน
1. วงเวียนเทพสตรี
2. วงเวียนวงเวียนศรีสุริโยทัย
 จอมพลปอ.
-          จอมพลปอ. ได้มีประกาศให้นำตัวอักษรเสียงซ้ำออกไปให้เหลือ 1 ตัวอักษร ซึ่งทำให้ประชาชนสื่อสารกันไม่เข้าใจ สับสน จนไม่มีประชาชนคนใดใช้
ปรางค์สามยอด , ปรางค์แขก , ศาลพระกาฬ เดิมถูกเรียกว่า อโรคยา


Education [การศึกษา]

Education 

Education in its general sense is a form of learning in which the knowledge, skills, and habits of a group of people are transferred from one generation to the next through teaching, training, or research. Education frequently takes place under the guidance of others, but may also be Any experience that has a formative effect on the way one thinks, feels, or acts may be considered educational.

            Education is the process of teaching and learning specific skills. Transmitted by genetic inheritance may have a different way out. The wording of the act. Memorizing the lecture / textbook. Or save it as a text. As evidence for fixed assets. Learning process is caused to individuals and society. This includes the selection of creative interpretation and application of the knowledge gained in the solution and its various functions.

              การศึกษาในความหมายทั่วไปคือรูปแบบหนึ่งของการเรียนรู้ที่มีความรู้ทักษะและพฤติกรรมของกลุ่มคนรุ่นหนึ่งสู่อีกรุ่นหนึ่ง  ผ่านการเรียนการสอนการฝึกอบรมหรือการวิจัย การศึกษาเกิดขึ้นผ่านประสบการณ์ที่มีผลกระทบเชิงพัฒนาความรู้สึกหรือการกระทำ การศึกษาเป็นกระบวนการอย่างเป็นทางการซึ่งสังคมส่งผ่านความรู้ ทักษะ จารีตประเพณีและค่านิยมที่สั่งสมมาจากรุ่นหนึ่งไปยังอีกรุ่นหนึ่ง นั่นคือ การสอนในสถานศึกษา


       การศึกษาเป็นกระบวนการของการเรียนการสอนและการเรียนรู้ทักษะเฉพาะ ส่งโดยการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมอาจจะมีวิธีที่แตกต่างออกไป ทั้งการใช้ถ้อยคำของการกระทำ ท่องจำบรรยาย / ตำราเรียน หรือบันทึกเป็นข้อความเป็นหลักฐานสำหรับสินทรัพย์ถาวร กระบวนการเรียนรู้ที่เกิดกับบุคคลและสังคม ซึ่งรวมถึงการเลือก การตีความ ความคิดสร้างสรรค์ และการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ได้ในการแก้ปัญหาต่างๆ


- ความหมายของภาษา –

- ความหมายของภาษา –
     ภาษา เมื่อแปลตามรูปศัพท์หมายถึง คำพูดหรือถ้อยคำ ภาษาเป็นเครื่องมือของมนุษย์ที่ใช้ในการสื่อความหมายให้สามารถติดต่อสื่อสาร เข้าใจกันได้ โดยมีระเบียบของเสียงและเรื่องของคำเป็นเครื่องกำหนด ในพจนาณุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานพ.ศ. 2525 ใหความหมายของคำว่าภาษาคือเสียงหรือกิริยาอาการที่ทำความเข้าใจกันได้ คำพูด ถ้อยคำที่ใช้พูดจากัน
    ภาษาสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ วัจนภาษา และ อวัจนภาษา
1. วัจนภาษา เป็นภาษาที่พูดโดยใช้เสียงที่เป็นถ้อยคำ สร้างความเข้าใจกัน มีระเบียบในการใช้ถ้อยคำในการพูด นอกจากนั้นยังเป็นหนังสือที่ใช้แทนคำพูด คำที่ใช้เขียนจะเป็นคำที่เลือกสรรแล้ว มีระเบียบในการใช้ถ้อยคำในการเขียนและการพูดตามหลักภาษา
2. อวัจนภาษา เป็นภาษาที่ใช้สิ่งอื่นนอกเหนือจางคำพูดและตัวหนังสือในการสื่อสารเพื่อทำให้เกิดความเข้าใจ ภาษาที่ไม่เป็นถ้อยคำได้แก่ ท่าทางการแสดงออก การใช้มือใช้แขนประกอบการพูดหรือสัญลักษณ์ต่างๆที่ใช้ในการสื่อสารสร้างความเข้าใจ เช่น สัญญานไฟจราจร สัญญานธง เป็นต้น
   ภาษามีความสำคัญต่อมนุษย์มาก เพราะนอกจากจะเป็นเครื่องมือในการสื่อสารแล้ว ยังเป็นเครื่องมือแห่งการเรียนรู้และการพัฒนาความคิดของมนุษย์และเป็นเครื่องมือถ่ายทอดวัฒนธรรมและการประกอบอาชีพ และที่สำคัญก็คือ ภาษาช่วยสร้างเสริมความสามัคคีของคนในชาติอีกด้วย เพราะภาษาเป็นถ้อยคำที่ใช้ในการสื่อสารสร้างความเข้าใจกันในสังคม
http://nungruatai11.wordpress.com


ความหมายของภาษา
-          ภาษา คือ เสียงพูดที่มีระเบียบ และมีความหมายซึ่งมนุษย์ใช้เป็นเครื่องมือในการสื่อสารความคิด ความรู้สึก ความต้องการ และใช้ในการประกอบกิจกรรมร่วมกัน
วิจินตน์   ภานุพงศ์(๒๕๒๒ : ๖)     
-          ภาษา แปลตามรูปคำศัพท์ว่า คำพูดหรือถ้อยคำ แปลเอาความว่า เครื่องสื่อความหมายระหว่างมนุษย์ให้สามารถกำหนดรู้ความประสงค์ของกันและกันได้ โดยมีระเบียบคำหรือจังหวะเสียงเป็นเครื่องกำหนด

กำชัย   ทองหล่อ(๒๕๐๙ : ๑๖)